วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่15 วันที่27 กันยายน 2554

การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
หลักการจัดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
การจัดนิทรรศการ
การสอนแบบโครงการ การเรียนรู้+รับรู้ของเด็ก
การเขียนแผน การประเมิน

เด็กปฐมวัย
เรื่องพัฒนาการ ความหมายต่างๆ สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ และของเล่นวิทยาศาสตร์

วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่14 วันที่20 กันยายน 2554

วิทยาศาสตร์ > ใกล้ตัวเด็ก
>อยู่รอบตัว
>มีผลต่อเด็ก
1. วัตถุประสงค์
ลักษณะ
บอกชื่อ
บอกรูปร่าง

2.ประสบกาณ์สำคัญ
สังเกตุ
เปรียบเทียบ
การสื่อความหวาย
การจำแนก

3.กิจกรรม
ขั้นนำ การบรรยายให้เห็นภาพ (มีสื่อ)

*สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

สัปดาห์ที่13 วันที่13 กันยายน 2554

สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
เรื่องราวเดียวกับตัวเล็ก
บุคคลสถานที่
ธรรมชาติ

ไข่ สาระสำคัญ
ประสบการณ์สำคัญ > สมถรรณะ 7 ด้าน
วัตถุประสงค์
สาระสำคัญ
ประสบการณ์สำคัญ

สัปดาห์ที่12 วันที่6 กันยายน 2554

ดู VCD หนูจ๋า
น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย
การทอดลอง > เอกแครรอทมาหันแล้วปั่น มีน้ำออกมา
ร่างกาย น้ำ 70%
ผักผลไม้ น้ำ 90%
ร่างกายขาดน้ำไม่ได้ ทำให้อ่อนเพลีย
ปรับสมดุลร่างกาย โดยการดื่มน้ำ
มนุษย์ขาดน้ำได้ 3วัน
อูฐขาด้ำได้ 10 วัน

น้ำมีสถานะเป็นของแข็ง เหลว ก๊าซ

การทอดลอง > ต้มน้ำให้เดือด จนเหลว กลายเป็นไอ เอาจานมาวางใส่น้ำแข็งมาวาง จะมีหยดน้ำ
การเปลี่ยนสถานะของเหลว กายเป็นไอ
โมเลกุลน้ำ
โมเลกุลน้ำแข็ง
น้ำเกลือมีความหนาแนนกว่าน้ำธรรมดา

สัปดาห์ที่11 วันที่30 สิงหาคม 2554

วิทยาศาสตร์
สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
ผลิตจากธรรมชาติ
มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม > ต้นไม้ > ขยะมีผลต่อ สภาพแสดล้อม

แกรนทิชชู > การแก้ปัญหาทางทรัพยากร 1.อย่าใช้เยอะ 2.นำกลับมาใช้ใหม่ 3.ประยุคก์ 4.ขาย

1.เริ่มโครงการ
-หาหัวเรื่อง > ให้เด็กนำเสนอ พูด , เขียน/วาด ชื่อเรื่อง , เลือก / ทำเครื่องหมาย
-หนูอยากรู้อะไร >ถาม ตอบ
-ทำอย่างไร >สถานที่ คน กิจกรรม
-ทบทวนประสบการณ์เดิม

2.ปฎิบัติตามแผนงาน

3.สรุป > หน้าที่ อธิบาย ต้อนรับ
>คน
>สถานที่ ในสถานที่ นอกสถานที่

สัปดาห์ที่10 วันที่23 สิ่งหาคม 2554

เรียนรู้ถึงเรีื่อง วัสดุเหลือใช้

วัสดุหรือใช้ เช่น ปากกา หลอด กระดาษ กล่องนม กล่องยาสีฟัน กระป๋องนม แก้วน้ำ แกรนทิชชู ลัง ฝาขวดน้ำ

กิจกรรม
การลงมือทำ - มือ ตา หู ลิ้น จมูก
ศิลปะสร้างสรค์- ริเริ่ม หยืดหยุ่น คล่องแคล่ว
วิธีการ- มีความหลากหลาย . กระบวนการ , สือ
เนื้อหา- สอดคล้องกับหน่วย ใกล้ตัว
ลำดับขั้นตอน
หลักการจัด- ทฤษฎีพัฒนาการณ์ เพียเจย์ ดิวอี้

กำหนดโครงการโดยให้เด็กๆช่วยกันเสนอ และขีดเป็นแต้มคะแนน และสรุปเป็นตัวเลขเขียนไว้
ปลา ////= 4
ช้าง / = 1
กล้วย ///// = 5
สุนัข ///// = 5
ดอกไม้ ///// ///// ///// =15

สรุปหัวข้อโครงการคือ ดอกไม้ = 15 คะแนน

ดอกไม้
1.ส่วนประกอบของดอกไม้
2.ชนิดของดอกไม้
3.สี
4.ประโยชน์ของดอกไม้
5.การขยายพันธ์
6.การดูแลดอกไม้
7.วิธีปลูก

สถานที่
1.สวนดอกไม้
2.ร้านดอกไม้
3.ร้านขายของที่ระลึก
4.ห้องสมุด , อินเทอเน๊ต

บุคคล
1.คนขาย
2.คนสวน

เคลื่อนไหวและจังหวะ
1.แต่งเพลงเกี่ยวกับดอกไม้
2.เคลื่อนไหว

เสริมประสบการณ์
1.เชิญ หนังสือขอบคุณ
2.ไปดู ทิศทาง ,แผนที่เดินทาง

ศิลปะ
1.วาดรูป
2.พิมพ์ภาพ
3.ประดิษฐ์ดอกไม้
4.แต่งนิทานร่วมกัน
5.ปั้น
6.ประกอบอาหาร

สรุป นำเสนอ
1 .นิทรรศการ
2.เพลง
3.นิทาน
4.แผนที่
5.งานประดิษฐ์
6.ส่วนประกอบ
7.อาหาร
8.เกม

สัปดาห์ที่9 วันที่16 สิ่งหาคม 2554

ส่งงานของสัปดาห์ที่ 7 และรียนรู้เรื่องความลับของแสง

ไฟดับก็จะไม่มีแสงสว่าง พอไม่มีแสงสว่างก็จะมองไม่เห็น แสงมีความสำคัญ ช่วยให้มองเห็น แสงเป็นคลื่นมีความสั้นมาก เพียง 3แสนกิโลเมตรต่อชั้วโมง ที่เรามองเห็นแสงเพราะแสงต้องสะท้อนวัตถุเข้ามาในตา ตาเป็นจอรับแสงที่มาจากวัตถุ ถ้าไม่มีแสงสว่างก็จะมืดแต่ยังมีพระอาทิตย์ส่องแสง
*-แสงเดินทางเป็นเส้นตรง และไม่เปลี่ยนทิศทาง ไปจนถึงวัตถุ

(วัตถุบนโลกมีอยู่ 3 ชนิด )
1.วัตถุโปร่งแสง แสงทะลุผ่านไปได้บางส่วน
2.วัตถุโปร่งใส แสงผ่านไปได้ทั้งหมด
3.วัตถุทึบแสง

แสงนำมาใช้ประโยชน์ได้มากมาย
เช่น กล่องฉายภาพแบบต่างๆ -> กล่องรูเข็ม

การสะท้อน
-การท้อนของแสงจะสะท้อนไปทิศ ตรงข้าม
-เงาในกระจกเกิดจากการสะท้อน
-สามารถเอาไปใช้ในเรือดำนำ
*การหักเหของแสง
-แสงเปลี่ยนทิศทาง
-มองวัตถุต่างไปจากเดิม
-สามารถใช้ทำเลนมีประโยชน์ในการขยาย
-เลนนูนใช้รวมแสง และใช้จุดไฟได้

สัปดาห์ที่8 วันที่9 สิ่งหาคม 2554

ไม่มีการเรียนการสอนเพราะตรงกับการสอบกลางภาค

วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่ 7 วันที่ 2 สิงหาคม 2554


ของเล่นวิทยาศาสตร์
" รถซิ่ง "

อุปกรณ์
1.กระดาษ
2.กรรไกร
3.สี

วิธีการทำ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเรียนรู้พลังงานลม
2. เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการเกิดของลม
3. เพื่อเรียนรู้การเคลื่อนไหวของวัตถุ จากที่หนึ่ง ไปอีกที่หนึ่ง

วิธีการเล่น
1. เป่ารถให้วิ่งออกไป
2. สามารถเป่าไปยังทิศทางที่ต้องการ

ความเป็นวิทยาศาสตร์
แรงลมที่เกิดจากการเป่า ทำให้วัตถุเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งทำให้เรียนรู้ถึงลมที่มีพลังงานทำให้วัตถุสามารถ เคลื่อนที่ได้แต่ก็คำนึงถึงนำหนักของวัตถุ ถ้าขนาดน้ำหนักของวัตถุน้อยก็จะเคลื่อนที่ได้ไกล

สัปดาห์ที่ 6 วันที่ 26 กรกฎาคม 2554

เด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-วัยที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาสูงสุดในชีวิต
-แสงหาความรู้สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหา ความรู้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
1.ความหมายทักษะการสังเกตุ (Observaion)
หมายถึง การให้ประสาทสัมผัส อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรง กับวัตถุ หรือเหตุการณ์ โดยมี จุดประกายที่จะหาข้อมูล
2.ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการจำแนกประเภท -> โดยหาเกณฑ์
2.1 ความเหมือน
2.2 ความต่าง
2.3ความสัมพันธ์ร่วม
3.ความหมายทักษะการวัด
ทักษะการวัด -> การใช้เครื่องมือต่างๆ วัดหาประมานของสิ่งที่เราต้องการ ทราบได้อย่างถกต้อง โดยมีหน่วยการวัด
3.1 รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
3.2 การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.3 วิธีการที่จะวัด
4ความหมายทักษะการสื่อความหมาย
การพูด การเขียน รูปภาพ และ ภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า
4.1 บรรยาลักษณ์ คุณสมบัติ ของวัตถุ
4.2 บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ
4.3 บอกความสัมพันธ์ กับข้อมูลที่จะได้กระทำ
4.4 จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
5.ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
6.ความหมายทักษะหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
Space = การรู้จักเรียนรู้ 1มิติ 2มิติ 3มิติ การเขียนภาพ 2มิติแทนรูป3มิติ การบอกทิศทาง
6.1 ข้อบ่งชี้ภาพ2มิติ และ 3มิติ
6.2 บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
6.3 บอกตำแหน่งหรือทิศทาง
7.ความหมายทักษะการคำนวน
ทักษะการคำนวน -> ความสามารถในการ นับจำนวน ของวัตถุ การบวก ลบ คูณ หาร การจำนวนของวัตถุ
7.1 การนับจำนวนของวัตถุ
7.2 การบวกลบ คูณหาร
7.3 การนับจำนวน

มาตรฐาน หมายถึง เกณ
มาตรฐานการศึกษา
-มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐาน 5 มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารญาน และ มีความคิดสร้างสรรค์
-หลักฐานการศึกษา ปฐมวัย พ.ศ 2546
ทำไมต้องต้องสอนวิทยาศาสตร์
ความจำเป็นที่ต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน


วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่ 5 วันที่ 19 กรกฎาคม 2554

กิจกรรมวิทยาศาสตร์



-ไข่ลอยฟ้า


-แรงดันน้ำ


-ไข่ลอยในน้ำเกลือ


-ขวดเป่าลูกโป่ง


-การเดินทางของแสง


-การเดินทางของเสียง



ข้อความรู้


-ตัวอย่างสือวิทยาศสสตร์


-จิตวิทยาการเรียนรู้


-หลักการจัดประสบการณ์


-ของเล่นวิทยาศาสตร์


-แนวคิดนักการศึกษา


-กิจกรรมวิทยาศาสตร์




โครงการ รณรงค์ ลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ และสิ่งเสพติด ถวายพ่อหลวง 84 พรรษา






วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่4 วันที่ 12 กรกฏาคม 2554

วันนี้มีการนำเสนองานของแต่ละกลุ่ม ตามหัวข้อที่ได้รับ
และกลุ่มของข้าพเจ้าก็ได้นำเสนอ แต่เกิดข้อผิดพลาดอยู่หลายอย่าง
ทำให้เกิดความเสียเวลา และ นำเสนอได้อย่างไม่เต็มที่


การนำเสนอ บรรยากาศ
หลายๆกลุ่มออกมานำเสนอหัวข้อของตนเองมีทั้งความแปลกใหม่และสนุกสนาน

ข้อความรู้
ความผิดพลาดในการทำงานกลุ่ม และการนำเสนอที่อาจารย์แนะนำจะนำไปปรับปรุงต่อไปให้ดีขึ้น

ข้อเสนอที่จะใช้ในวิชาชีพ
สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้ในอนาคต

สัปดาห์ที่3 วันที่ 5 กรกฏาคม 2554

_____________________

วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่2 วันที่ 28 มิถุนายน 2554

เพลง ไอน้ำ
ความรู้ > ดวงอาทิตย์ส่องแสงลงในน้ำทำให้น้ำร้อนและระเหยกลายเป็นไอน้ำ
วิทยาศาสตร์ > ไอน้ำลอยจากที่ต่ำไปที่สูง , น้ำเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอน้ำ
นำไปใช้จัดประสบการณ์ > เพลงเป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอน , เป็นการนำเข้าสู่บทเรียน
(ความรู้เพิ่มเติม)
วิทยศาสตร์
ความหมาย > เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต สามารถพิสูตรได้
สำคัญ > ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น... ใช้ในการเรียนการสอน , สร้างอาชีพ , อำนวยความสะดวกในการดำ
รงค์ชีวิต , ในการพยากรณ์อากาศ
เด็ก > เด็กการค้นพบและเอาตัวรอดได้ , สืบเสาะค้นหาความจริง
สิ่งแวดล้อม > ฤดูกาล,สภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
พัฒนาการทางสติปัญญา > พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงจากลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
บรรยากาศ
วันนี้มีเพลงประกอบการเรียนการสอนทำให้มีความเข้าใจในเนื้อหาบทเรียนมากขึ้น
ข้อความรู้
เกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์
ข้อเสนอที่จะใช้ในวิชาชีพ
การจัดการเรียนการสอน โดยใช้บทเพลงเป็นการนำเข้าสู่บทเรียน

วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่1 วันที่ 21 มิถุนายน 2554

การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัด > การรับรู้ , การเรียนรู้ , ประสาทสัมผัสทั้ง5
วิทยาศาสตาร์ > เนื้อหา (สิ่งที่อยู่รอบตัว) , ทักษะ (สังเกตุ , ทดลอง , ตั้งสมมุตติฐาน , บันทึก , สรุป )
เด็กปฐมวัย > 0-6ปี ความต้องการ ความสามารถ <-พัฒนาการ วิธีการเรียนรู้ (ลงมือปฎิบัติ)
บรรยากาศ
อาจารย์ใจดีและสอนอย่างสนุกทำให้ไม่มีความกดดันในการเรียน และทำให้เข้าใจมากขึ้น
ข้อความรู้
เกี่ยวกับการสร้างบล๊อคและการจัดเนื้อหา ให้สอดคล้องกับรายวิชา
ข้อเสนอที่จะใช้ในวิชาชีพ
สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้ในอนาคต