วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่ 7 วันที่ 2 สิงหาคม 2554


ของเล่นวิทยาศาสตร์
" รถซิ่ง "

อุปกรณ์
1.กระดาษ
2.กรรไกร
3.สี

วิธีการทำ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเรียนรู้พลังงานลม
2. เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการเกิดของลม
3. เพื่อเรียนรู้การเคลื่อนไหวของวัตถุ จากที่หนึ่ง ไปอีกที่หนึ่ง

วิธีการเล่น
1. เป่ารถให้วิ่งออกไป
2. สามารถเป่าไปยังทิศทางที่ต้องการ

ความเป็นวิทยาศาสตร์
แรงลมที่เกิดจากการเป่า ทำให้วัตถุเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งทำให้เรียนรู้ถึงลมที่มีพลังงานทำให้วัตถุสามารถ เคลื่อนที่ได้แต่ก็คำนึงถึงนำหนักของวัตถุ ถ้าขนาดน้ำหนักของวัตถุน้อยก็จะเคลื่อนที่ได้ไกล

สัปดาห์ที่ 6 วันที่ 26 กรกฎาคม 2554

เด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-วัยที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาสูงสุดในชีวิต
-แสงหาความรู้สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหา ความรู้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
1.ความหมายทักษะการสังเกตุ (Observaion)
หมายถึง การให้ประสาทสัมผัส อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรง กับวัตถุ หรือเหตุการณ์ โดยมี จุดประกายที่จะหาข้อมูล
2.ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการจำแนกประเภท -> โดยหาเกณฑ์
2.1 ความเหมือน
2.2 ความต่าง
2.3ความสัมพันธ์ร่วม
3.ความหมายทักษะการวัด
ทักษะการวัด -> การใช้เครื่องมือต่างๆ วัดหาประมานของสิ่งที่เราต้องการ ทราบได้อย่างถกต้อง โดยมีหน่วยการวัด
3.1 รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
3.2 การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.3 วิธีการที่จะวัด
4ความหมายทักษะการสื่อความหมาย
การพูด การเขียน รูปภาพ และ ภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า
4.1 บรรยาลักษณ์ คุณสมบัติ ของวัตถุ
4.2 บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ
4.3 บอกความสัมพันธ์ กับข้อมูลที่จะได้กระทำ
4.4 จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
5.ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
6.ความหมายทักษะหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
Space = การรู้จักเรียนรู้ 1มิติ 2มิติ 3มิติ การเขียนภาพ 2มิติแทนรูป3มิติ การบอกทิศทาง
6.1 ข้อบ่งชี้ภาพ2มิติ และ 3มิติ
6.2 บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
6.3 บอกตำแหน่งหรือทิศทาง
7.ความหมายทักษะการคำนวน
ทักษะการคำนวน -> ความสามารถในการ นับจำนวน ของวัตถุ การบวก ลบ คูณ หาร การจำนวนของวัตถุ
7.1 การนับจำนวนของวัตถุ
7.2 การบวกลบ คูณหาร
7.3 การนับจำนวน

มาตรฐาน หมายถึง เกณ
มาตรฐานการศึกษา
-มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐาน 5 มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารญาน และ มีความคิดสร้างสรรค์
-หลักฐานการศึกษา ปฐมวัย พ.ศ 2546
ทำไมต้องต้องสอนวิทยาศาสตร์
ความจำเป็นที่ต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน